Chinese
วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2556
การอ่านออกเสียงภาษาจีน
1. พยางค์
หน่วยเสียงพื้นฐานของระบบเสียงภาษาจีนกลางปัจจุบันคือพยางค์
แต่ละพยางค์ประกอบขึ้นจากหน่วยเสียง 3 ส่วน ได้แก่ พยัญชนะ สระและวรรณยุกต์
โดยทั่วไปแล้ว ตัวอักษรจีน หนึ่งตัวจะอ่านออกเสียงหนึ่งพยางค์
หน่วยเสียงพื้นฐานของระบบเสียงภาษาจีนกลางปัจจุบันคือพยางค์
แต่ละพยางค์ประกอบขึ้นจากหน่วยเสียง 3 ส่วน ได้แก่ พยัญชนะ สระและวรรณยุกต์
โดยทั่วไปแล้ว ตัวอักษรจีน หนึ่งตัวจะอ่านออกเสียงหนึ่งพยางค์
2. พยัญชนะ
พยัญชนะคือเสียงนำที่ขึ้นต้นในแต่ละพยางค์ ในภาษาจีนกลางมีพยัญชนะ
ทั้งหมด 23 เสียง ได้แก่
b p m f d t n l g k h j q x zh ch sh r z c s y w.
พยัญชนะคือเสียงนำที่ขึ้นต้นในแต่ละพยางค์ ในภาษาจีนกลางมีพยัญชนะ
ทั้งหมด 23 เสียง ได้แก่
b p m f d t n l g k h j q x zh ch sh r z c s y w.
3. สระ
สระหมายถึงเสียงที่ออกตามหลังพยัญชนะในแต่ละพยางค์ สระในภาษาจีน
แบ่งออกเป็นเสียงสระล้วนและเสียงที่ประกอบขึ้นจากเสียงสระเป็นหลัก
(เนื่องจากระบบเสียงภาษาจีนกลางได้รวมเอา เสียงตัวสะกดไว้กับเสียงสระ
สระประเภทนี้จึงหมายถึงเสียงสระที่ประสมรวมกับเสียงสะกด ซึ่งเทียบได้กับเสียง
ตัวสะกดแม่กน /n/ และแม่กง/ng/ ในภาษาไทย) สระจำนวนหนึ่งสามารถ
ประสมกันกลายเป็นสระประสม และเมื่อเรานำสระมาประสมไว้หลังพยัญชนะ
ก็จะกลายเป็นพยางค์ ในระบบสัทอักษรพินอิน ในภาษาจีนกลางมีสระทั้งหมด 36 เสียง ได้แก่
a o e i u ü ai ei ui ao ou iu ie üe an en in un ün ang eng ing ong er ia iao ian iang iong ua uo uai uan uang ueng üan.
สระหมายถึงเสียงที่ออกตามหลังพยัญชนะในแต่ละพยางค์ สระในภาษาจีน
แบ่งออกเป็นเสียงสระล้วนและเสียงที่ประกอบขึ้นจากเสียงสระเป็นหลัก
(เนื่องจากระบบเสียงภาษาจีนกลางได้รวมเอา เสียงตัวสะกดไว้กับเสียงสระ
สระประเภทนี้จึงหมายถึงเสียงสระที่ประสมรวมกับเสียงสะกด ซึ่งเทียบได้กับเสียง
ตัวสะกดแม่กน /n/ และแม่กง/ng/ ในภาษาไทย) สระจำนวนหนึ่งสามารถ
ประสมกันกลายเป็นสระประสม และเมื่อเรานำสระมาประสมไว้หลังพยัญชนะ
ก็จะกลายเป็นพยางค์ ในระบบสัทอักษรพินอิน ในภาษาจีนกลางมีสระทั้งหมด 36 เสียง ได้แก่
a o e i u ü ai ei ui ao ou iu ie üe an en in un ün ang eng ing ong er ia iao ian iang iong ua uo uai uan uang ueng üan.
4. การอ่านรวมเป็นพยางค
ในภาษาจีนกลาง มีพยัญชนะและสระอยู่จำนวนหนึ่งที่ประสมรวมกันเป็นเสียง
พยางค์เฉพาะ เวลาอ่านเราจะไม่สะกดแบ่งพยางค์ประเภทนี้ออกเป็นเสียงพยัญชนะ
และเสียงสระ แต่จะอ่านรวมออกมา เป็นพยางค์ พยางค์เฉพาะเหล่านี้มีทั้งหมด 16 เสียง ได้แก่
zhi chi shi ri zi ci si ye yi yin ying wu yu yue yun yuan.
ในภาษาจีนกลาง มีพยัญชนะและสระอยู่จำนวนหนึ่งที่ประสมรวมกันเป็นเสียง
พยางค์เฉพาะ เวลาอ่านเราจะไม่สะกดแบ่งพยางค์ประเภทนี้ออกเป็นเสียงพยัญชนะ
และเสียงสระ แต่จะอ่านรวมออกมา เป็นพยางค์ พยางค์เฉพาะเหล่านี้มีทั้งหมด 16 เสียง ได้แก่
zhi chi shi ri zi ci si ye yi yin ying wu yu yue yun yuan.
5. พยางค์ที่ไม่มีเสียงพยัญชนะ
นอกจากนี้หน่วยเสียงจำนวนหนึ่งในระบบเสียงภาษาจีนกลางจะไม่มีเสียงพยัญชนะ
พยางค์ประเภทนี้เรียกว่า พยางค์ที่ไม่มีเสียงพยัญชนะ เช่น
ān 安 (สงบสุข); a 啊 (คำช่วยน้ำเสียง)
นอกจากนี้หน่วยเสียงจำนวนหนึ่งในระบบเสียงภาษาจีนกลางจะไม่มีเสียงพยัญชนะ
พยางค์ประเภทนี้เรียกว่า พยางค์ที่ไม่มีเสียงพยัญชนะ เช่น
ān 安 (สงบสุข); a 啊 (คำช่วยน้ำเสียง)
กฎการเขียนสัทอักษรพินอิน
โดยทั่วไป สัทอักษรพินอินของพยางค์ต่างๆ ประกอบขึ้นจากการสะกดรวมของเสียง
พยัญชนะและสระ จากนั้นจึงใส่เสียงวรรณยุกต์ประกอบเข้าไป กฎการเขียนและสะกดพยางค์
ของพยัญชนะและสระมีดังนี้
พยัญชนะและสระ จากนั้นจึงใส่เสียงวรรณยุกต์ประกอบเข้าไป กฎการเขียนและสะกดพยางค์
ของพยัญชนะและสระมีดังนี้
1. พยัญชนะ j,q,x จะสะกดรวมกับสระที่ขึ้นต้นด้วยเสียง i และ ? เท่านั้น
เมื่อพยัญชนะ j,q,x ประสมกับสระที่ขึ้นต้นด้วยเสียง ? จะต้องลดรูปจุดสองจุดบน ? เช่น
ji, qi, xi
jia, qia, xia
ju, qu, xu
jue, que, xue
jun, qun, xun
เมื่อพยัญชนะ j,q,x ประสมกับสระที่ขึ้นต้นด้วยเสียง ? จะต้องลดรูปจุดสองจุดบน ? เช่น
ji, qi, xi
jia, qia, xia
ju, qu, xu
jue, que, xue
jun, qun, xun
2. เมื่อพยางค์ที่ประกอบขึ้นจากสระที่ขึ้นต้นด้วยเสียง i และ ? ไม่มีเสียงพยัญชนะมาประกอบ
จะต้องเปลี่ยนรูป i เป็น y และเปลี่ยนรูป u เป็น w เช่น
ia→ya uo→wo
จะต้องเปลี่ยนรูป i เป็น y และเปลี่ยนรูป u เป็น w เช่น
ia→ya uo→wo
3. เมื่อสระ ui,un,iu,? ประกอบขึ้นเป็นพยางค์ด้วยตัวเอง จะต้องเขียนเป็น
ui→wei un→wen iu→you ü→yu
ui→wei un→wen iu→you ü→yu
4. เครื่องหมายคั่นเสียง
เมื่อพยางค์ที่ขึ้นต้นด้วยเสียง a, o, e อยู่หลังพยางค์อื่น และทำให้การสะกดแบ่ง
พยางค์ไม่ชัดเจน เราจะใช้เครื่องหมายคั่นเสียง(’)มาคั่นระหว่างพยางค์ เช่น
เมื่อพยางค์ที่ขึ้นต้นด้วยเสียง a, o, e อยู่หลังพยางค์อื่น และทำให้การสะกดแบ่ง
พยางค์ไม่ชัดเจน เราจะใช้เครื่องหมายคั่นเสียง(’)มาคั่นระหว่างพยางค์ เช่น
jī'è 饥饿 (หิวโหย); míng'é 名额 (จำนวนโควต้า)
jiè 借 (ยืม); mín'gē 民歌 (เพลงพื้นบ้าน)
jiè 借 (ยืม); mín'gē 民歌 (เพลงพื้นบ้าน)
กฎการออกเสียง
1. เสียงวรรณยุกต์พื้นฐาน เสียงวรรณยุกต์พื้นฐานในภาษาจีนกลางมี 4 เสียง ได้แก่ เสียงหนึ่ง เป็นเสียงสูง
เสียงสอง เป็นเสียงขึ้น
เสียงสาม เป็นเสียงต่ำ
เสียงสี่ เป็นเสียงตก
เสียงวรรณยุกต์ทั้งสี่ใช้เครื่องหมาย ˉ,ˊ,ˇ และˋแแทนตามลำดับ เครื่องหมายวรรณ
ยุกต์ทั้งสี่จะเขียน ไว้บนเสียงหลักของสระในแต่ละพยางค์ (เสียงหลักของสระหมายถึงเสียงที่ต้อง
อ้าปากกว้างและออกเสียงดังที่สุด ในบรรดาเสียงที่ประกอบขึ้นเป็นสระ) เช่น
เสียงสอง เป็นเสียงขึ้น
เสียงสาม เป็นเสียงต่ำ
เสียงสี่ เป็นเสียงตก
เสียงวรรณยุกต์ทั้งสี่ใช้เครื่องหมาย ˉ,ˊ,ˇ และˋแแทนตามลำดับ เครื่องหมายวรรณ
ยุกต์ทั้งสี่จะเขียน ไว้บนเสียงหลักของสระในแต่ละพยางค์ (เสียงหลักของสระหมายถึงเสียงที่ต้อง
อ้าปากกว้างและออกเสียงดังที่สุด ในบรรดาเสียงที่ประกอบขึ้นเป็นสระ) เช่น
qiāng, qiáng, qiǎng, qiàng
tuī, tuí, tuǐ, tuì
tuī, tuí, tuǐ, tuì
เสียงวรรณยุกต์ในภาษาจีนกลางมีคุณสมบัติในการแยกความหมาย ดังนั้น หากเสียงวรรณ ยุกต์ต่างกัน ความหมายก็จะต่างไปด้วย
2. เสียงเบา
พยางค์ประเภทหนึ่งเมื่ออยู่หลังพยางค์อื่นแล้วจะต้องอ่านออกเสียงสั้นและเบา
พยางค์ประเภทนี้เรียกว่า เสียงเบา เวลาเขียนพยางค์ที่เป็นเสียงเบาจะไม่ใช้เครื่อง
หมายวรรณยุกต์ใดๆ กำกับ เช่น
พยางค์ประเภทหนึ่งเมื่ออยู่หลังพยางค์อื่นแล้วจะต้องอ่านออกเสียงสั้นและเบา
พยางค์ประเภทนี้เรียกว่า เสียงเบา เวลาเขียนพยางค์ที่เป็นเสียงเบาจะไม่ใช้เครื่อง
หมายวรรณยุกต์ใดๆ กำกับ เช่น
hǎo ma? 好吗 (ดีไหม)
bō li 玻璃 (แก้ว, กระจก)
bō li 玻璃 (แก้ว, กระจก)
3. การกลายเสียง
ในบางครั้งการอ่านพยางค์หลายๆ พยางค์ติดกัน เสียงวรรณยุกต์บางพยางค์จะเกิดการ
เปลี่ยนแปลง เสียงอ่านจะไม่เหมือนกับเวลาอ่านพยางค์นั้นโดยลำพัง การเปลี่ยนแปลงของ
เสียงวรรณยุกต์แบบนี้เรียกว่า การกลายเสียง รูปแบบการกลายเสียงมี 3 แบบด้วยกัน คือ
• เมื่อวรรณยุกต์เสียงสามอยู่ติดกันสองพยางค์ เสียงวรรณยุกต์ของพยางค์หน้าจะกลาย
เสียงเป็นวรรณยุกต์เสียงสอง (แต่เวลาเขียน ให้คงเครื่องหมายวรรณยุกต์เดิม คือ
เครื่องหมายวรรณยุกต์เสียงสามไว้) เช่น 你好“nǐ hǎo” ก็ต้องออกเสียงเป็น “ní hǎ
ในบางครั้งการอ่านพยางค์หลายๆ พยางค์ติดกัน เสียงวรรณยุกต์บางพยางค์จะเกิดการ
เปลี่ยนแปลง เสียงอ่านจะไม่เหมือนกับเวลาอ่านพยางค์นั้นโดยลำพัง การเปลี่ยนแปลงของ
เสียงวรรณยุกต์แบบนี้เรียกว่า การกลายเสียง รูปแบบการกลายเสียงมี 3 แบบด้วยกัน คือ
• เมื่อวรรณยุกต์เสียงสามอยู่ติดกันสองพยางค์ เสียงวรรณยุกต์ของพยางค์หน้าจะกลาย
เสียงเป็นวรรณยุกต์เสียงสอง (แต่เวลาเขียน ให้คงเครื่องหมายวรรณยุกต์เดิม คือ
เครื่องหมายวรรณยุกต์เสียงสามไว้) เช่น 你好“nǐ hǎo” ก็ต้องออกเสียงเป็น “ní hǎ
• เมื่อพยางค์วรรณยุกต์เสียงสามอยู่หน้าพยางค์วรรณยุกต์เสียงหนึ่ง เสียงสอง เสียงสี่และ
พยางค์เสียงเบาส่วนใหญ่ จะต้องกลายเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียง “ครึ่งเสียงสาม” วรรณยุกต์เสียง
“ครึ่งเสียงสาม”ก็คือ การออกเสียงสามเพียงครึ่งเสียงแรกที่เป็นเสียงตก เช่น
พยางค์เสียงเบาส่วนใหญ่ จะต้องกลายเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียง “ครึ่งเสียงสาม” วรรณยุกต์เสียง
“ครึ่งเสียงสาม”ก็คือ การออกเสียงสามเพียงครึ่งเสียงแรกที่เป็นเสียงตก เช่น
lǎo shī 老师 (ครู, อาจารย์)
yǔ yán 语言 (ภาษา)
yǔ yán 语言 (ภาษา)
• คำว่า “不” และ “一” ในภาษาจีนกลางจะมีการกลายเสียงเฉพาะ กล่าวคือ เมื่อ “不”
และ “一” อยู่หน้าพยางค์เสียงสี่หรือพยางค์เสียงเบาที่กลายมาจากเสียงสี่ จะต้องออกเสียงว่า
“bú” และ “yí” ตามลำดับ เช่น
bú shì 不是; yí gè 一个
และ “一” อยู่หน้าพยางค์เสียงสี่หรือพยางค์เสียงเบาที่กลายมาจากเสียงสี่ จะต้องออกเสียงว่า
“bú” และ “yí” ตามลำดับ เช่น
bú shì 不是; yí gè 一个
แต่หากสองคำนี้อยู่หน้าพยางค์เสียงหนึ่ง เสียงสองและเสียงสาม ก็ยังคงออกเสียงเป็นเสียง
สี่ตามเดิมว่า “bù” และ “yì” เช่น
สี่ตามเดิมว่า “bù” และ “yì” เช่น
bù shuō 不说; bù lái 不来; bù hǎo 不好
yì tiān 一天; yì nián 一年; yì qǐ 一起
yì tiān 一天; yì nián 一年; yì qǐ 一起
4. พยางค์เสริมท้ายด้วยเสียง er
พยางค์เสริมท้ายด้วยเสียง er หมายถึง พยางค์ที่เกิดจากการเพิ่มเสียง er(-r)
ต่อข้างท้ายเสียงสระ ในภาษาจีนกลางมีคำจำนวนมากที่มีการเสริมท้ายด้วยเสียง er
เวลาเขียนสัทอักษรพินอินให้เพิ่มตัว r ต่อท้ายสระ หากเขียนเป็นตัวอักษรจีนให้เขียนตัว “儿”
ต่อท้ายคำ เช่น
ต่อข้างท้ายเสียงสระ ในภาษาจีนกลางมีคำจำนวนมากที่มีการเสริมท้ายด้วยเสียง er
เวลาเขียนสัทอักษรพินอินให้เพิ่มตัว r ต่อท้ายสระ หากเขียนเป็นตัวอักษรจีนให้เขียนตัว “儿”
ต่อท้ายคำ เช่น
gēr 歌儿 (เพลง); huār 花儿 (ดอกไม้)
หากเป็นพยางค์มีสระที่ลงท้ายด้วยเสียง –i หรือ –n เมื่อจะประกอบเป็นพยางค์เสริมท้าย
ด้วยเสียง er ก็จะไม่ออกเสียง –i หรือ -n เช่น
ด้วยเสียง er ก็จะไม่ออกเสียง –i หรือ -n เช่น
xiǎo háir 小孩儿 (เด็ก); wánr 玩儿 (เล่น)
วรรณยุกต์ใน PINYIN
拼音声调:วรรณยุกต์ใน PINYIN
nǐhǎo ออกเสียงเป็น níhǎo (สวัสดี)
wǒ hěn hǎo ออกเสียงเป็น wǒ hén hǎo หรือ wó hén hǎo (ฉันสบายดีมาก)
声调 shēngdiào เซิงเตี้ยว
วรรณยุกต์
วรรณยุกต์ของจีนมีทั้งสิ้น 4 เสียงโดยแต่ละเสียงจะใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์และมีชื่อเรียกเฉพาะ แต่ ณ ที่นี้ จะขอเรียก ว่าเสียงที่ 1 เสียงที่ 2 เสียงที่ 3 และ เสียงที่ 4 พร้อมทั้งอธิบายเปรียบเทียบกับเสียงวรรณยุกต์ไทย เพื่อสะดวกต่อการเรียนรู้แบบจานด่วน ดังนี้
เสียงที่ 1 เสียงที่ 2 เสียงที่ 3 เสียงที่ 4
ā á ǎ à
สามัญ ๋ ่ ้
อา อ๋า อ่า อ้า
กฎของการเติมวรรณยุกต์
1. เครื่องหมายวรรณยุกต์จะใส่ไว้ตรงสระเท่านั้น ห้ามใส่ไว้บนพยัญชนะ
2. ห้ามใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ไว้บน –n –ng
3. ตำแหน่งการใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ จะใส่ไว้ตามลำดับสระพี่น้องดังนี้
1 ( คนโต )
|
2
|
3
|
4 ( ฝาแฝด )
|
5
| |
a
อา
|
o
โอ
|
e
เออ
|
i
อี
|
u
อู
|
ü
อวี
|
EX: bāo gěi liè nüē tū
เปา เก่ย เลี่ย เนวีย ทู
5. กรณีที่เป็นสระ ü (อวี) ให้ใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ไว้ข้างบนจุดจุด เช่น nǚ (หนวี่)
4. กรณีที่เป็นสระ i (อี)ให้ใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ทับจุด เช่น lī (ลี)
6. กรณีที่เป็นสระฝาแฝด ( i อี u อู) ให้วางวรรณยุกต์ไว้ที่สระด้านหลังเสมอ เช่น duī (ตุย) diū (ติว)
7. กรณีที่เสียงวรรรยุกต์เสียงที่ 3 เจอเสียงวรรณยุกต์เสียง ที่ 3 ด้วยกัน เสียงข้างหน้าจะเปลี่ยนเป็นเสียงที่ 2 เช่น
* ˇˇ = ´ ˇ
หนี่ห่าว หนี ห่าว
* ˇˇˇ = ˇ´ˇ/ ´´ˇ
หว่อ เหิ่น ห่าว หว่อ เหิน ห่าว หว๋อ เหิน ห่าว
* ˇˇˇˇ = ´ˇ´ˇ
wǒ yě hěn hǎo ออกเสียงเป็น wó yě hén hǎo(ฉันก็สบายดีเหมือนกัน)
หว่อ เย่ เหิ่น ห่าว หว๋อ เย่ เหิน ห่าว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)